ลักษณะข้อสอบ GAT-PAT

ความถนัดทั่วไป (GAT : General Aptitude Test)การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ แยกได้ 2 ส่วน คือ 1. ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปัญหา
50 % 2. ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 50 %


ลักษณะข้อสอบ GAT1เนื้อหา - การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์และการแก้โจทย์ ปัญหา(ทาง คณิตศาสตร์) 50% - การสื่อสารด้วยภาษา อังกฤษ 50%2. ลักษณะข้อสอบ GAT จะเป็นปรนัย และอัตนัย - คะแนนเต็ม 200 คะแนน เวลาสอบ 2 ชั่วโมง - ข้อสอบ เน้น Content Free และ Fair - เน้นความซับ ซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก - มีการออกข้อสอบเก็บไว้เป็นคลังข้อ สอบ 3. สอบปีละหลายครั้ง - คะแนนใช้ได้ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด (จะสอบ ตั้งแต่ม. 4 ก็ได้)


ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (PAT :Professional and Academic Aptitude Test) คือ ความรู้ที่เป็นพื้นฐานที่จะเรียนต่อในวิชาชีพนั้น ๆ กับศักยภาพที่จะเรียนในวิชาชีพนั้น ๆให้ประสบความสำเร็จ มี 7 ประเภท คือ1. PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์2. PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์3. PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์4. PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5. PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู 6. PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ 7. PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ

ลักษณะแนวข้อสอบ PATPAT 1 วัดศักยภาพทางคณิตศาสตร์ เนื้อหา เช่น Algebra, Probability and Statistics, Conversion,Geometry, Trigonometry,Calculus ฯลฯ ลักษณะข้อสอบ Perceptual Ability, Calculation skills, Quantitative Reasoning, Math Reading Skills PAT 2 วัดศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหา ชีววิทยา, เคมี, ฟิสิกส์, Earth Sciences, environment, ICT ฯลฯ ลักษณะข้อสอบ Perceptual Ability, Sciences Reading Ability,Science Problem Solving Ability ฯลฯ PAT 3 วัดศักยภาพทางวิศวกรรม ศาสตร์ เนื้อหา เช่น Engineering Mathematics, EngineeringSciences,Life Sciences, IT ฯลฯ ลักษณะ ข้อสอบ Engineering Aptitude i.e. Multidimensional Perceptual Ability, Calculation Skills, Engineering Reading Ability, Engineering Problem Solving Ability PAT 4 วัดศักยภาพทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ เนื้อหา เช่น Architectural Math and Science ฯลฯ ลักษณะข้อสอบ Space Relations, Multidimensional Perceptual Ability, Architectural Problem Solving Ability ฯลฯ PAT 5 วัดศักยภาพทาง ครุศาสตร์/ ศึกษาศาสตร์ เนื้อหา ความรู้ในเนื้อหาภาษา ไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม วิทยา มานุษยวิทยา สุขศึกษา ศิลปะ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ลักษณะ ข้อสอบ ครุ ศึกษา (Pedagogy), ทักษะการอ่าน (Reading Skills),ความรู้ทั่วไปเกี่ยว กับการศึกษาของประเทศไทย การแก้ปัญหาที่เกิดจากนัก เรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียน ฯลฯ PAT 6 วัดศักยภาพทางศิลปกรรมศาสตร์ เนื้อหา เช่น ทฤษฎีศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) ความรู้ทั่วไปทาง ศิลป์ ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ PAT จะเป็นปรนัย และอัตนัย - คะแนนเต็มชุดละ 200 คะแนน เวลาสอบชุดละ 2 ชั่วโมง - เน้นความซับ ซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก - มีการออกข้อสอบเก็บไว้ในคลังข้อ สอบการจัดสอบPAT จะจัดสอบเมื่อนักเรียนอยู่ชั้น ม.6 โดยจัดสอบปีละ 2 ครั้ง - คะแนนใช้ได้ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่ สุด

ขอบคุณข้อมูลจาก www.chulatutor.com

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น